ผลงาน APN

Image

ผลงาน APN : พ.อ.หญิง รัชนีกร บุณยโชติมา


กลุ่มผู้ป่วย Intracerebral Hemorrhage

  • พัฒนาอุปกรณ์ควบคุมการระบายน้ำไขสันหลัง “รัชนีกร” ได้รับอนุสิทธิบัตร
  • Gel เอนกประสงค์ รพ.รร.6
  • เครือข่าย Stroke Fast track
  • งานข้อมูลผู้ป่วย UCHA
Image

ผลงาน APN : พ.ท.หญิง วรรธกร รักอิสสระ


กลุ่มผู้ป่วยผ่าตัดหัวใจ

  • ผลักดันการเปิด CVT-ICU
  • Clinical pathway : CABG
  • Wrist lock block A-damp
  • Knee lock block balloon clink
Image

ผลงาน APN : พ.ท.หญิง วิภารัตน์ นาวารัตน์



กลุ่มผู้ป่วย COPD
  • Clinical Pathway for patient with COPD
  • Clinical pathway for patient with CAP
  • Oral care protocols
  • APNCM on complicated case
Image



ผลงาน APN : พ.ท.หญิง สุพัตรา กันธะรส


กลุ่มผู้ป่วยเด็กวิกฤต

  • โครงการพัฒนาเครื่องมือประเมินความปวดในเด็ก
  • แนวปฏิบัติการป้องกันการเลื่อนหลุดของท่อช่วยหายใจในเด็กจากผลงานวิจัย โดยใช้ Behavior Pain Scale และSedation Score
Image


ผลงาน APN: พ.ท.หญิง จิราพร เชาว์โพธิ์ทอง


กลุ่มผู้ป่วย Acute Coronary Syndrome

  • แนวทางการดูแลผู้ป่วย STEMI ศูนย์โรคหัวใจสิรินธร และ กพย.รพ.รร.6 (9 block of Continuing Care: STEMI)
  • แนวทางการปฏิบัติกรณีพบผู้ป่วยที่สงสัยมีอาการกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดในโรงพยาบาล (หอผู้ป่วย/หน่วย/OPD/ER)
  • KPI Dictionary of STEMI Block of Continuing Care
  • ACS: Public Alert and Patient Education Poster
  • แนวทางปฏิบัติการบริหารยา Amiodarone ทางหลอดเลือดดำ
  • Clinical Pathway: Uncomplicated Acute STEMI
  • Clinical Pathway: Coronary Angiography
  • Clinical Pathway: Cardiac Device Implantation
  • เปิดหน่วย One Day Cardiology Procedures Unit (one day cath unit - ODCU)
  • โครงการเลิกบุหรี่ในผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือด
  • คำแนะนำการปฎิบัติตัวภายหลังการใส่ Pacemaker, AICD, CRT
  • คำแนะนำการปฏิบัติตัวหลังการฉีดสีตรวจเส้นเลือดหัวใจ และ/หรือ ถ่างขยายหลอดเลือดหัวใจที่ตีบด้วยบอลลูนหรือขดลวด
  • มือการเตรียมการจำหน่ายผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือดที่ได้รับการตรวจรักษาด้วยการฉีดสีตรวจหลอดเลือดหัวใจและ/หรือขยายหลอดเลือดหัวใจด้วยบอลลูนใช้ในกองอายุรกรรม
  • บทความในหนังสือสมาคมเวชบำบัดวิกฤตแห่งประเทศไทย ปี 2554 “ Critical care medicine: Make it easy” เรื่อง Risks in ACS management : Thrombolysis and PCI
  • บทความในหนังสือ “Optimal nursing practice in medicine” ปี 2555 เรื่อง การดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินทางหลอดเลือดหัวใจ
Image



ผลงาน APN: พ.ท.หญิง จรัสพรรษ วงศ์วิเศษกาญจน์

กลุ่มผู้ป่วย Spinal cord injury

  • Jaraspas Mobile Negative Pressure Device ได้รับรางวัลที่ 2 จากกองเวชศาสตร์ฟื้นฟู รพ.รร.6 ในการเข้าประกวดสิ่งประดิษฐ์คิดค้นความคิดสร้างสรรค์ทางการแพทย์
  • CNPG for prevention pressure ulcer & wound management in SCI patient
  • Use Braden scale translation in PMK Hospital
  • เปิด Urodynamic Clinic
  • เปิด Advanced Wound Clinic
  • แปลแบบประเมินความเสี่ยงของการเกิดแผลกดทับ “Braden Q scale” ใช้ในเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ให้กับเครือข่ายตัวชี้วัดแผลกดทับในกทม.(สปสช.เขต19) เครือข่ายฯ รพ.สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย และ รพ.รร.6
  • แปลและเรียบเรียง Update on wound management, sharing best practice from UK perspective ลงในวารสารวงการแพทย์ (ปี 55)
  • ปรับแนวปฏิบัติทางการพยาบาล(CNPG)ในการป้องกันและดูแลแผลกดทับในผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังระยะฟื้นฟู นำไปเผยแพร่ให้กับพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โดยศูนย์สิรินธรเพื่อการฟื้นฟูแห่งชาติ (ปี 55)
Image



ผลงาน APN : พ.ต.หญิง สุภาพร ทัศน์ทอง

กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการระงับความรู้สึก (GA)

  • แนวปฏิบัติการป้องกันภาวะอุณหภูมิกายต่ำต่อภาวะอุณหภูมิกายของผู้ป่วยที่มาทำการผ่าตัด
  • พัฒนารูปแบบการเตรียมตัวก่อนได้รับการระงับความรู้สึก
  • พัฒนารูปแบบการตรวจสอบการบันทึกทางการพยาบาล
Image



ผลงาน APN: พ.ท.หญิง สิรพิชญ์ ภัทรธรรมาภรณ์

กลุ่มผู้ป่วยทางนรีเวชกรรม

  • Clinical pathway : Gyn. explore lap
  • WI :การจัดการความปวด (คณะกรรมการQA)
  • WI : การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (คณะกรรมการฯ)
  • กิจกรรมหัตถบำบัดฟื้นฟูระบบประสาทส่วนปลายและเบี่ยงเบนความสนใจจากภาวะเจ็บป่วย
  • โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ป่วยมะเร็งทางนรีเวชโดยใช้กระบวนการกลุ่ม
  • โครงการ Spa room ลดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาเคมีบำบัด
  • กิจกรรมร่วมกันทำบุญใส่บาตรเช้าพระสงฆ์ที่หอผู้ป่วย
  • กิจกรรมออกกำลังกายในหอผู้ป่วย“เต้าเต๋อซิ่นซี”ในผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกที่ได้รับรังสีรักษาร่วมกับเคมีบำบัด
Image



ผลงาน APN: พ.ต.หญิง เพ็ญแข วิจิตร

กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการระงับความรู้สึก (GA)

  • พัฒนารูปแบบการเตรียมตัวก่อนได้รับการระงัความรู้สึก
  • พัฒนาระบบการจัดการความปวด
  • แนวทางการจัดท่าสำหรับผู้ป่วยผ่าตัดสมอง