ประวัติกองการพยาบาล เดิมการรักษาพยาบาลทหารเจ็บป่วย จะรักษากันเองภายในกรมกอง หรือส่งทหารไปรักษาที่โรงพยาบาลอื่น เช่น ศิริราชพยาบาล วชิรพยาบาล จุฬาลงกรณ์ จากการค้นคว้ามิได้พูดถึงเรื่องการพยาบาลเลยว่าได้ก่อตั้งมาตั้งแต่เมื่อใด
จน พ.ศ.2475 ได้รวมกองเสนารักษ์ที่ 1 (ปากคลองหลอด) และกอง เสนารักษ์ที่ 2 (บางซื่อ) เป็นกองเสนารักษ์จังหวัด ทหารบกกรุงเทพฯ และได้มีการ โอนแพทย์จากคณะพยาบาลศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3 นาย มาช่วยงาน คือ
1. รองอำมาตย์เอก หลวงวาจวิทยาวัฑฒน์ (วาด แย้มประยูร)
2. รองอำมาตย์ตรี สงวน โรจนวงศ์
3. รองอำมาตย์ตรี บุญเจือ บุญโสนี
โดยมีพยาบาลจำนวนหนึ่ง ได้รับการโอนมาด้วย(ไม่สามารถสืบค้นได้ว่าเป็น ใครบ้าง) งานการพยาบาลในขณะนั้นมี สถานะภาพเป็นเพียงบางส่วนของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าเท่านั้น
จน พ.ศ.2475 ได้รวมกองเสนารักษ์ที่ 1 (ปากคลองหลอด) และกอง เสนารักษ์ที่ 2 (บางซื่อ) เป็นกองเสนารักษ์จังหวัด ทหารบกกรุงเทพฯ และได้มีการ โอนแพทย์จากคณะพยาบาลศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3 นาย มาช่วยงาน คือ
1. รองอำมาตย์เอก หลวงวาจวิทยาวัฑฒน์ (วาด แย้มประยูร)
2. รองอำมาตย์ตรี สงวน โรจนวงศ์
3. รองอำมาตย์ตรี บุญเจือ บุญโสนี
โดยมีพยาบาลจำนวนหนึ่ง ได้รับการโอนมาด้วย(ไม่สามารถสืบค้นได้ว่าเป็น ใครบ้าง) งานการพยาบาลในขณะนั้นมี สถานะภาพเป็นเพียงบางส่วนของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าเท่านั้น
พ.ศ. 2495 จึงได้มี หัวหน้าพยาบาลคนแรก คือ พ.ต.หญิง ชาดา อติวรรธนะ ซึ่งเป็น
พยาบาลอาวุโสที่สุดที่โอนมาจากโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้า
พยาบาลโดยปริยายมิได้มีตำแหน่ง/อัตรารองรับ พยาบาลทุกคนที่บรรจุตามกองต่างๆอยู่ใต้
การบังคับบัญชาของหัวหน้ากองนั้นๆ
พยาบาลอาวุโสที่สุดที่โอนมาจากโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้า
พยาบาลโดยปริยายมิได้มีตำแหน่ง/อัตรารองรับ พยาบาลทุกคนที่บรรจุตามกองต่างๆอยู่ใต้
การบังคับบัญชาของหัวหน้ากองนั้นๆ
พ.ศ. 2517 ได้รับอนุมัติจากกองทัพบกให้เป็นแผนกพยาบาลขึ้นต่อโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าได้รับอัตรา กำลังพลตามอัตราเฉพาะกิจ 3610 จำนวน 219 อัตรา และพ.ต.หญิง ชาดา อติวรรธนะ มีอัตราพยาบาลบรรจุ ตามหน่วยขึ้นตรงของโรงพยาบาลพระ
มงกุฎเกล้า ประมาณ110 อัตรา มี พันโทหญิง ทิพย์ ปูชิโต เป็นหัวหน้าแผนกพยาบาล คนแรก
มงกุฎเกล้า ประมาณ110 อัตรา มี พันโทหญิง ทิพย์ ปูชิโต เป็นหัวหน้าแผนกพยาบาล คนแรก
พ.ศ.2519 พลตรี สะอาด ประเสริฐสม เป็นผู้อำนวยการโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ใน พันโทหญิง ทิพย์ ปูชิโต ขณะนั้นดำริให้ขยายแผนกพยาบาลเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนบุคลากรพยาบาลในระยะยาว
เพราะได้มีการขยายเตียงรับคนไข้เพิ่มขึ้น จึงได้มีการเสนอแผนเพื่อขยายอัตราอย่างต่อเนื่อง
เพราะได้มีการขยายเตียงรับคนไข้เพิ่มขึ้น จึงได้มีการเสนอแผนเพื่อขยายอัตราอย่างต่อเนื่อง
พ.ศ.2524 พันโทหญิง ลัดดาวัลย์ อนาคตะวัฒนา หน.แผนกพยาบาล เสนอโครงการ ปรับ แผนกพยาบาล เป็น กองการพยาบาล และได้รับอนุมัติเมื่อ 4 ก.ย.27 มีอัตราทั้งสิ้น 807 อัตรารวมระยะเวลาดำเนินการ 5 ปี (1 ม.ค.23 – 31 ธ.ค.27) โดยมีตำแหน่ง ผู้อำนวย
การกองการพยาบาล(อัตรา พ.อ.(พ.)) 1 อัตรา, รองผู้อำนวยการกองการพยาบาล (อัตรา พ.อ.)1 อัตรา, ผู้ช่วยผู้อำนวยการกองการพยาบาล (อัตรา พ.อ.) 1 อัตรา, หัวหน้าแผนกพยาบาลกองการพยาบาล(พ.ท.) 8 อัตรา (พ.ต.) 6 อัตรา
และผู้ตรวจการพยาบาล(อัตรา พ.ท.) 10 อัตรา ผู้อำนวยการกองการพยาบาล คนแรกคือ พันโทหญิง ลัดดาวัลย์ อนาคตะวัฒนา พันเอกหญิง อุธรณ์ หาญยุทธ
การกองการพยาบาล(อัตรา พ.อ.(พ.)) 1 อัตรา, รองผู้อำนวยการกองการพยาบาล (อัตรา พ.อ.)1 อัตรา, ผู้ช่วยผู้อำนวยการกองการพยาบาล (อัตรา พ.อ.) 1 อัตรา, หัวหน้าแผนกพยาบาลกองการพยาบาล(พ.ท.) 8 อัตรา (พ.ต.) 6 อัตรา
และผู้ตรวจการพยาบาล(อัตรา พ.ท.) 10 อัตรา ผู้อำนวยการกองการพยาบาล คนแรกคือ พันโทหญิง ลัดดาวัลย์ อนาคตะวัฒนา พันเอกหญิง อุธรณ์ หาญยุทธ
พ.ศ.2529 กองทัพบกอนุมัติให้เพิ่มแผนกพยาบาลอุบัติเหตุและเวชกรรมฉุกเฉิน มี 150 อัตราอัตรากองการพยาบาลได้แก้ไขเป็น 957 อัตรา
พ.ศ.2532 พันเอกหญิง ลัดดาวัลย์ อนาคตะวัฒนา ผอ.กองการพยาบาล ได้ทำแผนขยายอัตราอาคารสมเด็จย่า 90 ในปี 2533 ซึ่งได้รับอนุมัติอัตราลูกจ้างประจำ และลูกจ้างชั่วคราวมาจำนวนหนึ่งและให้บรรจุพยาบาลพลเรือน 63 คน ในอัตรา พันเอกหญิง อุธรณ์ หาญยุทธ
เดิมของกองการพยาบาล
พ.ศ.2532 พันเอกหญิง ลัดดาวัลย์ อนาคตะวัฒนา ผอ.กองการพยาบาล ได้ทำแผนขยายอัตราอาคารสมเด็จย่า 90 ในปี 2533 ซึ่งได้รับอนุมัติอัตราลูกจ้างประจำ และลูกจ้างชั่วคราวมาจำนวนหนึ่งและให้บรรจุพยาบาลพลเรือน 63 คน ในอัตรา พันเอกหญิง อุธรณ์ หาญยุทธ
เดิมของกองการพยาบาล