พยาบาลผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง (APN)
กองการพยาบาล โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
พ.อ.หญิง รัชนีกร บุณยโชติมาAPN สาขาอายุรศาสตร์ศัลยศาสตร์ กลุ่มผู้ป่วยIntracerebral Hemorrhage รุ่น 17 ผอ.กพย.รพ.รร.6 ปี 2565 - 2566
พ.ท.หญิง วรรธกร รักอิสสระ
APN สาขาอายุรศาสตร์ศัลยศาสตร์
กลุ่มผู้ป่วยผ่าตัดหัวใจ
รุ่น ท.24 หน.พยาบาลอาคารสมเด็จย่า 90
พ.ท.หญิง วิภารัตน์ นาวารัตน์
APN สาขาอายุรศาสตร์ศัลยศาสตร์
กลุ่มผู้ป่วยผ่าตัดหัวใจ
รุ่น26 หน.หอผู้ป่วย อายุรกรรม13/1
พ.ท.หญิง สุพัตรา กันธะรส
APN สาขาพยาบาลเด็ก Critical care
กลุ่มผู้ป่วยเด็กวิกฤต
รุ่น26 หน.หอผู้ป่วย วิกฤตกุมารเวชกรรม PICU
พ.ท.หญิง จิราพร เชาว์โพธิ์ทอง
APN สาขาอายุรศาสตร์ศัลยศาสตร์
กลุ่มผู้ป่วย Acute coronary syndrome
รุ่น28 พยาบาล ฝวก.กพย.รพ.รร.6 (ชรก.)
พ.ท.หญิง จรัสพรรษ วงศ์วิเศษกาญจน์
APN สาขาอายุรศาสตร์ศัลยศาสตร์
กลุ่มผู้ป่วย Spinal cord injury รุ่น29
พยาบาลหน.หน่วย Advanced wound care
พ.ต.หญิง สุภาพร ทัศน์ทอง
APN สาขาการพยาบาลด้านการให้ยาระงับความรู้สึก
กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการระงับความรู้สึก (GA)
รุ่น32 พยาบาลแผนกพยาบาลวิสัญญี
พ.ท.หญิง สิรพิชญ์ ภัทรธรรมาภรณ์
APN สาขาอายุรศาสตร์ศัลยศาสตร์
กลุ่มผู้ป่วยทางนรีเวชกรรม รุ่น21
หน.หอผู้ป่วย นรีเวชกรรม 5(ลาออก)
พ.ต.หญิง เพ็ญแข วิจิตร
APN สาขาการพยาบาลด้านการให้ยาระงับความรู้สึก
กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการระงับความรู้สึก (GA) รุ่น30
พยาบาลแผนกพยาบาลวิสัญญี(ลาออก)
- APN คืออะไร
- PLAN APN Subtitle
- รายนาม APN
- ผลงาน APN Subtitle
- นโยบาย กพย.รพ.รร.6 เรื่อง ขอบเขตงานที่รับผิดชอบของ APN
- ประกาศสภาการพยาบาล เรื่อง ขอบเขตและสมรรถนะผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง สาขาต่างๆ
พยาบาลผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง (Advanced Practice Nurse: APN)
คือ ผู้ที่มีความรู้ความชำนาญเฉพาะทางการพยาบาลในสาขาต่าง ๆที่ต้องมีสมรรถนะในคุณสมบัติเบื้องต้นคือ จบการศึกษาระดับมหาบัณฑิตขึ้นไป ได้รับประกาศนียบัตร/ วุฒิบัตรเฉพาะสาขาทางการพยาบาลในสาขาที่ตนปฏิบัติ และปฏิบัติการดูแลผู้ป่วย/ผู้รับบริการ หรือครอบครัว ใน สาขาเฉพาะที่สนใจจนเกิดความชำนาญ
แผนปฏิบัติราชการ คณะกรรมการจัดระบบ
และพัฒนางานของพยาบาลปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง
ผลงานพยาบาลผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง (APN)
นโยบาย กพย.รพ.รร.6 : ขอบเขตงานที่รับผิดชอบของ APN
- ให้คำปรึกษาด้านการปฏิบัติพยาบาลกับหน่วยงานต่างๆ
- ดูแลการให้การพยาบาลในกลุ่มโรคเฉพาะ ระหว่างแผนกพยาบาล
- เป็น NCM กำกับ/ดูแลงาน CM ในหน่วยและหรือ แผนกพยาบาล
- จัดบริการกลุ่มโรคเฉพาะโดยขยายขอบเขตและการบริการให้ครอบคลุมกลุ่มโรคเฉพาะ
- ดำเนินงานวิจัยเชื่อมโยงในหน่วยงานและแผนกพยาบาล
- ดำเนินงานจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเฉพาะสาขาที่เชี่ยวชาญให้แก่บุคลากรพยาบาล รพ.รร.6
- ประมวลผลการปฏิบัติงาน